ค่าลดหย่อนภาษี
1.ทั่วไป▾
1.1ส่วนตัว
1.2คู่สมรส
1.3บุตร
1.4บิดามารดา
1.5ฝากครรภ์-คลอดบุตร
1.6อุปการะผู้พิการหรือทุพพลภาพ
1.7ดอกเบี้ยกู้ซื้อที่อยู่อาศัย
1.8ผู้สูงอายุและผู้พิการ
2.ประกันชีวิตและประกันสุขภาพ▾
2.1เงินสะสมประกันสังคม
2.2เบี้ยประกันชีวิต
2.3เบี้ยประกันสุขภาพ
2.4เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ
2.5เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา
3.การออมและลงทุน▾
3.1กองทุนรวมเพื่อการออม(SSF)
3.2กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ(RMF)
3.3กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
3.4กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
3.5กองทุนการออมแห่งชาติ
3.6เงินลงทุนธุรกิจStartup
4.เงินบริจาค▾
4.1เงินบริจาคทั่วไป
4.2เงินบริจาคเพื่อการศึกษา/โรงพยาบาลรัฐ/การกีฬา/การพัฒนาสังคม
4.3เงินบริจาคพรรคการเมือง
5.รายการพิเศษ▾
กองทุนรวมเพื่อการออม(SSF)
หัวข้อ :
กองทุนรวมเพื่อการออม (Super Savings Fund: SSF) ใช้เป็น ค่าลดหย่อน ได้ ตามที่จ่ายจริง แต่ต้องไม่เกิน 30% ของเงินได้ และไม่เกิน 200,000บาท
โดยมีเงื่อนไขว่า ต้องถือครบ 10 ปีนับจากวันที่ซื้อ โดยเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2563 ถึง พ.ศ. 2567
สำหรับค่าลดหย่อนประเภทอื่นๆสามารถศึกษาได้ที่ค่าลดหย่อน
หลักฐาน
- หนังสือรับรองการซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ(RMF)
เงื่อนไข
การที่จะใช้สิทธิลดหย่อนภาษีจากกองทุนSSF จะต้องตรงตามเกณฑ์ต่อไปนี้ครบทุกข้อ
- ต้องถือหน่วยลงทุนSSFไว้ไม่น้อยกว่า10ปี นับตั้งแต่วันที่ซื้อ หรือ เสียชีวิต หรือ ทุพพลภาพ
เงื่อนไขเพิ่มเติม
- การนับระยะเวลาจะนับแยกแต่ละกองที่ซื้อในแต่ละปีะ
- นับระยะเวลาแบบวันชนวัน ปีชนปี เช่น ซื้อวันที่ 1 กพ 2563 จะครบกำหนด10ปี และขายได้ วันที่ 2 กพ 2573
- สามารถสลับไปซื้อ(switching) กองทุนSSF กองอื่นได้ โดยไม่ถือเป็นภารขาย
แหล่งที่มา : ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 369), กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509)